โรคกรดไหลย้อน มีวิธีแก้ ทำง่าย ได้ผลจริง
เพราะอะไร กรดจึงไหลย้อน
สารพัดตัวการกรดไหลย้อน
สารพัดตัวการกรดไหลย้อน
- มีความเครียด เวลาเครียดหรือโกรธจัด อารมณ์ที่พลุ่งพล่านจะกระตุ้นให้เกิดการหลั่ง
- ในกระเพาะอาหารออก มามากเกินไป
- กินอาหารจนแน่นท้อง ซึ่งส่งผลให้กรดในกระเพาะอาหารเอ่อล้นออกมา
- กินอาหารกระตุ้นอาการ เช่น อาหารรสจัดของทอด ชา กาแฟน้ำอัดลม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
- น้ำหนักเกินหรืออ้วนลงพุง เนื่องจากไขมันที่สะสมบริเวณหน้าท้องจะไปเบียดกระเพาะอาหาร
- ทำให้กรดเกิดการไหลย้อนได้
- สวมเสื้อผ้ารัดรูป เช่น ใส่กางเกงยีนฟิตเปรี๊ยะใส่สเตย์รัดหน้าท้อง
- นั่งเอนหลังหรือนอนหลังจากกินอาหารเสร็จใหม่ ๆ
- กินยาบางชนิด เช่น ยาลดความดันโลหิตยาขยายหลอดลม หรือการรับฮอร์โมน และการ
- สูบบุหรี่จัด
- ตั้งครรภ์ เนื่องจากสตรีตั้งครรภ์จะมีการเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนซึ่งส่งผลต่อการเกิดโรค
- กรดไหลย้อนได้ เพราะระดับฮอร์โมนของคุณแม่ตั้งครรภ์มีการเปลี่ยนแปลง
Easy Tricks แก้โรคกรดไหลย้อนด้วยตัวเอง
สุดยอดอาหารลดกรด
โรคกรดไหลย้อน หรือ เกิร์ด (GERD-Gastro-esophageal Reflux Disease) ความจริงแล้วไม่
ใช่โรคใหม่ เมื่อราว 70 - 80 ปีมาแล้ว ต่างประเทศเรียกโรคนี้ว่าฮาร์ตเบิร์น (Heartburn) แปลว่า
อาการแสบร้อนในช่องอกคนที่เป็นโรคนี้มักมี อาการแสบร้อนจุกเสียดบริเวณใต้ลิ้นปี่ ท้องอืด
ท้องเฟ้อ คล้ายอาหารไม่ย่อย บางคนเรอมีกลิ่นเปรี้ยว เนื่องจากกรดในกระเพาะอาหารไหลย้อน
ขึ้นมาถึงปากและคอทำให้กลิ่นลมหายใจไม่สะอาด
ใช่โรคใหม่ เมื่อราว 70 - 80 ปีมาแล้ว ต่างประเทศเรียกโรคนี้ว่าฮาร์ตเบิร์น (Heartburn) แปลว่า
อาการแสบร้อนในช่องอกคนที่เป็นโรคนี้มักมี อาการแสบร้อนจุกเสียดบริเวณใต้ลิ้นปี่ ท้องอืด
ท้องเฟ้อ คล้ายอาหารไม่ย่อย บางคนเรอมีกลิ่นเปรี้ยว เนื่องจากกรดในกระเพาะอาหารไหลย้อน
ขึ้นมาถึงปากและคอทำให้กลิ่นลมหายใจไม่สะอาด
โรคกรดไหลย้อน ยังส่งผลเสียต่ออวัยวะช่วงลำคอ ทำให้มีอาการไอ ระคายคอ เสียงแหบและ
กระตุ้นโรคหืดให้กำเริบหนัก ซึ่งโรคนี้มักมีอาการเรื้อรัง สร้างความรำคาญใจให้แก่ผู้ป่วยบางท่านมี
คำถามว่า อาการนี้สามารถนำไปสู่โรคร้ายแรงอื่นได้หรือไม่ คำตอบคือ ถ้าปล่อยให้มีอาการเรื้อรัง
เป็นเวลานานกรดในกระเพาะอาหารที่ล้นออกมาจะทำลายเซลล์เยื่อบุหลอดอาหารและอาจ
เปลี่ยนแปลงเป็นเซลล์มะเร็งได้เมื่อทราบเช่นนี้จะเกิดความกังวลอีก ซึ่งก่อให้เกิดความเครียด
ผู้ป่วยจึงตกอยู่ในวงจรของโรคโดยไม่สามารถควบคุมอาการได้กลไกการเกิดโรคกรดไหลย้อน คือ
หูรูดหลอดอาหารส่วนล่างทำงานผิดปกติ เกิดการคลายตัวในเวลาที่ไม่จำเป็น โดยเฉพาะตอนกลืน
อาหาร หูรูดหลอดอาหารจะคลายตัว
เพื่อให้อาหารไหลลงไปยังกระเพาะอาหาร เมื่ออาหารไหลลงไปแล้ว หูรูดหลอดอาหารหดตัวปิด
อาหารหรือกรดในกระเพาะอาหารจึงไม่ไหลย้อนกลับขึ้นด้านบน
กระตุ้นโรคหืดให้กำเริบหนัก ซึ่งโรคนี้มักมีอาการเรื้อรัง สร้างความรำคาญใจให้แก่ผู้ป่วยบางท่านมี
คำถามว่า อาการนี้สามารถนำไปสู่โรคร้ายแรงอื่นได้หรือไม่ คำตอบคือ ถ้าปล่อยให้มีอาการเรื้อรัง
เป็นเวลานานกรดในกระเพาะอาหารที่ล้นออกมาจะทำลายเซลล์เยื่อบุหลอดอาหารและอาจ
เปลี่ยนแปลงเป็นเซลล์มะเร็งได้เมื่อทราบเช่นนี้จะเกิดความกังวลอีก ซึ่งก่อให้เกิดความเครียด
ผู้ป่วยจึงตกอยู่ในวงจรของโรคโดยไม่สามารถควบคุมอาการได้กลไกการเกิดโรคกรดไหลย้อน คือ
หูรูดหลอดอาหารส่วนล่างทำงานผิดปกติ เกิดการคลายตัวในเวลาที่ไม่จำเป็น โดยเฉพาะตอนกลืน
อาหาร หูรูดหลอดอาหารจะคลายตัว
เพื่อให้อาหารไหลลงไปยังกระเพาะอาหาร เมื่ออาหารไหลลงไปแล้ว หูรูดหลอดอาหารหดตัวปิด
อาหารหรือกรดในกระเพาะอาหารจึงไม่ไหลย้อนกลับขึ้นด้านบน
แต่ทุกวันนี้ยังไม่มีใครทราบสาเหตุที่ทำให้หูรูดหลอดอาหารไม่ทำงาน พบเพียงว่ากระเพาะอาหาร
บีบตัวมากเกินไปจึงทำให้หูรูดหลอดอาหารคลายตัว
บีบตัวมากเกินไปจึงทำให้หูรูดหลอดอาหารคลายตัว
รองศาสตราจารย์ ดร.ลอว์เรนซ์ โคเฮน (Dr. Lawrence Cohen) ผู้เชี่ยวชาญด้านทางเดินอาหาร
แห่งมหาวิทยาลัยโทรอนโตประเทศแคนาดา เคยให้สัมภาษณ์ไว้ในสื่อออนไลน์ เดอะสตาร์ดอทคอม
ว่า“ผมกล้าพูดได้ว่าสาเหตุหลักของการเกิด โรคกรดไหลย้อน เกิดจากพฤติกรรมที่เราทำอยู่เป็นประจำ
แห่งมหาวิทยาลัยโทรอนโตประเทศแคนาดา เคยให้สัมภาษณ์ไว้ในสื่อออนไลน์ เดอะสตาร์ดอทคอม
ว่า“ผมกล้าพูดได้ว่าสาเหตุหลักของการเกิด โรคกรดไหลย้อน เกิดจากพฤติกรรมที่เราทำอยู่เป็นประจำ
เช่น พฤติกรรมการกินที่ผิดเพี้ยน กินอาหารไม่ถูกต้อง น้ำหนักมาก และการสูบบุหรี่จัดเหล่านี้
ทำให้เกิดโรคกรดไหลย้อนได้”
ทำให้เกิดโรคกรดไหลย้อนได้”
นอกจากนี้ โรคกรดไหลย้อน ยังสัมพันธ์กับพฤติกรรมอื่น ๆ ด้วย ดังนี้
เมื่อเป็นกรดไหลย้อนหรือโรคอะไรก็ตาม เรามักไปหาหมอฝากหน้าที่ความรับผิดชอบไว้ให้คุณหมอ
เพื่อให้ท่านสั่งยามาให้กินแล้วเราจะสบายใจว่าหายจากโรคแน่ แต่สำหรับวิธีแก้โรคกรดไหลย้อนต้อง
อาศัยการดูแลตัวเองมิใช่น้อย
เพื่อให้ท่านสั่งยามาให้กินแล้วเราจะสบายใจว่าหายจากโรคแน่ แต่สำหรับวิธีแก้โรคกรดไหลย้อนต้อง
อาศัยการดูแลตัวเองมิใช่น้อย
มูลนิธิ International Foundation for Functional Gastrointestinal Disorders (IFFGD)
แห่งประเทศสหรัฐอเมริกา แนะนำให้หลีกเลี่ยงปัจจัยกระตุ้นการเกิดโรคทุกอย่าง ปรับเปลี่ยน
ไลฟ์สไตล์และการกินอาหารให้ถูกต้อง ดังนี้
แห่งประเทศสหรัฐอเมริกา แนะนำให้หลีกเลี่ยงปัจจัยกระตุ้นการเกิดโรคทุกอย่าง ปรับเปลี่ยน
ไลฟ์สไตล์และการกินอาหารให้ถูกต้อง ดังนี้
1. งดนั่งเอนหลังหรือนอนหลังจากกินอาหารมื้อใหญ่อย่างน้อย 3 ชั่วโมง และไม่ควรกินอาหารว่าง
ใกล้เวลาเข้านอน
ใกล้เวลาเข้านอน
2. ไม่ควรออกกำลังกายหรือทำกิจกรรมที่ต้องก้มตัวลง เช่น กวาดหรือถูบ้านหลังกินอาหาร
3. ไม่ควรกินอาหารมากเกินไป แม้อาหารจะอร่อยมากแค่ไหน ก็ควรกินในปริมาณพอเหมาะ
4. หลีกเลี่ยงอาหารที่กระตุ้นอาการ เช่น ของทอด นม เนย หอมหัวใหญ่ ช็อกโกแลต
น้ำมะเขือเทศ น้ำส้ม ชา กาแฟ เหล้า เบียร์ เพราะอาหารเหล่านี้ ทำให้เกิดการหลั่งกรดใน
กระเพาะอาหารมากขึ้น
น้ำมะเขือเทศ น้ำส้ม ชา กาแฟ เหล้า เบียร์ เพราะอาหารเหล่านี้ ทำให้เกิดการหลั่งกรดใน
กระเพาะอาหารมากขึ้น
5. ไม่ทะเลาะหรือถกปัญหาเครียด ๆ ระหว่างกินอาหารควรกินอาหารในบรรยากาศสบาย ๆ
6. ควรกินอาหารมื้อกลางวันให้มาก ส่วนมื้อเย็นกินน้อย ๆ และเลื่อนเวลามื้อเย็นให้เร็วขึ้นเพื่อให้
ห่างจากเวลาเข้านอน
ห่างจากเวลาเข้านอน
7. หากมีอาการแสบร้อนกลางอกเป็นประจำ เวลานอนควรหนุนหมอนสูงหรือหนุนผ้าบริเวณเหนือ
เอวให้สูงขึ้นเพื่อป้องกันไม่ให้กรดไหลย้อน
เอวให้สูงขึ้นเพื่อป้องกันไม่ให้กรดไหลย้อน
8. ควรลดน้ำหนักและบริหารร่างกายเพื่อลดไขมันสะสมบริเวณหน้าท้อง
หนังสือ Acid Reflux Diet: 101 Best Foods To Treat & Cure GERD ของ Kindle
โดยทีมเขียน Health Research Staff ที่ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญด้านโภชนาการ
แนะนำอาหารบำบัดอาการของโรคกรดไหลย้อนไว้ 101 ชนิด
โดยทีมเขียน Health Research Staff ที่ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญด้านโภชนาการ
แนะนำอาหารบำบัดอาการของโรคกรดไหลย้อนไว้ 101 ชนิด
ผู้เขียนจึงคัดอาหารที่น่าสนใจและหาง่ายในบ้านเรามาแนะนำดังนี้
กลุ่มผัก อาร์ติโช้ก หน่อไม้ฝรั่ง โหระพา บรอกโคลี กะหล่ำปลี แครอต เซเลอรี่ แตงกวา
มะเขือ ขิง ฟักทอง ผักโขม วอเตอร์เครส ซูกินี
มะเขือ ขิง ฟักทอง ผักโขม วอเตอร์เครส ซูกินี
กลุ่มผลไม้ แอ๊ปเปิ้ล เอพริคอต อะโวคาโด กล้วย แบล็กเบอร์รี่ บลูเบอร์รี่ แคนตาลูป เชอร์รี่
มะพร้าว มะเดื่อ องุ่น มะละกอ พีช แพร์ สตรอว์เบอร์รี่ แตงโม
มะพร้าว มะเดื่อ องุ่น มะละกอ พีช แพร์ สตรอว์เบอร์รี่ แตงโม
กลุ่มธัญพืชและเมล็ดถั่ว อัลมอนด์ บัควีต ถั่วเขียว ข้าวโอ๊ต ข้าวกล้อง งา ถั่วเหลือง
กลุ่มสมุนไพรและชาสมุนไพร ชาคาโมมายล์ ออริกาโน ไธม์
กลุ่มอาหารอื่น ๆ เต้าหู้ ปลาทูน่า